วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557


 


ครั้งที่  6

ประจำวันที่  25 เดือน กันยายน พ.. 2557

        บทความที่  1.  แสงสีกับชีวิตประจำวัน     แสงบนโลกใบนี้มีแค่  3 สี คือสี  แดง  น้ำเงิน  เขียว  ซึ่งสีเหล้านี้มาจากดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น  ซึ่งสีอื่น ๆ ที่ตาเรามองเห็นก็มาจาก 3 สีนี้ผสมกันในอัตราส่วนที่เท่า ๆ กัน

        บทความที่  2.  อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม   จัดสภาพแวดล้อมโดยตรงจัดขยะ  ปลูกต้นไม้  และควรมีการจัดสภาพในโรงเรียน

 
         บทความที่  3.  วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย   เด็กจะไม่เรียนรู้ผ่านเนื้อหาโดยการลงมือกระทำ  ทดลอง  จากการสังเกตและการจำแนกประเภท  มี 2 ประเภท  คือ  1.  ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์   2.  หาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

     ** จะทำให้เด็กรักการค้นคว้าและเข้าใจธรรมชาติรอบตัว **

       บทความที่  4.  การทดลองวิทยาศาสตร์
  1.    ทักษะสังเกต     
  2.   ทักษะการวัด
  3.      ทักษะการจำแนกระประเภท
  4.       ทักษะการสื่อสาร
  5.       ทักษะการลงความเห็น
  6.      ทักษะการพยากรณ์
**  ประโยชน์
  1.       คิดอย่างมีระบบ
  2.     ส่งเสริมพัฒนาการให้ครบทุกด้าน
             -   ครูสามารถบูรณาการไว้ในกิจกรรมการผลิตและการทดลอง

             -    พ่อแม่สังเกต ความต้องการของลูกแล้วจัดกิจกรรม

              -  จัด 1 หน่วยการทดลอง ต่อ 1 หน่วยการเรียนรู้

             -     การใช้คำถามของครู

ความรู้ในวันนี้
  อาจารย์ได้ตราจ แผนผังความคิดที่แต่ล่ะกลุ่มได้เลือกหัวข้อเพื่อใช้เป็นหน่วยการสอนของตนโดยแต่ล่ะกลุ่มได้เลือกหน่วยการเรียนดังนี้
  1. หน่วยข้าว
  2. หน่วยไก่
  3. หน่วยต้นไม้
  4. หน่วยน้ำ
  5. หน่วยปลา
  6. หน่วยมะพร้าว
  7. หน่วยกล้วย
  8. หน่วยนม
** หน่วยที่กลุ่มดิฉันเลือกคือ   หน่วยผลไม้

 
 


การนำไปประยุกต์ใช้   Applications.

1.  สามารถนำของเล่นวิทยาศาสตร์ไปใช้สอนเด็กได้
2.  สามารถนำหน่วยต่าง ๆ ไปใช้สอนเด็กได้


เทคนิคการสอน   Teaching methods.

    การได้ลงมือปฏิบัติ พร้อมการอภิปราย เปิดโอกาสให้ถามคำถาม

คำศัพท์    Glossary.
   
    ผลไม้         Fruit.
    แอ็ปเปิ้ล     Apple.
    สาลี่            Asanpear.
    ขนุน           Jack frut.
    สับปะรด      Pneapple.   


การประเมิน  Assessment.

ตนเอง   ตั้งใจเรียน  ตอบคำถามที่อาจารย์ถาม  แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
เพื่อน    ตั้งใจเรียนกันเป็นอย่างดี  พร้อมทั้งตั้งใจตอบคำถาม  แต่งกายได้เรียบร้อยถูกระเบียบ
อาจารย์  ตรงเวลาดีมาก  สอนได้สนุก แต่งกายสุภาพเรียบร้อย



 


สรุป   ความลับของแสง
   
   แสงสว่างเป็นสิ่งสำคัญที่ใช้ในการมองเห็น หากดวงตาของเราปรับสภาพจากแส
ไม่ได้ให้หลับตาสักระยะหนึ่ง    แสงเคลื่อนที่  300000  ก.ม / วินาที  จะเท่ากับ  คนเราต้องวิ่งถึง  7 รอบ/วินาที
  • การทดลอง    กล่อง  1 ใบ เจอะรูเรียบร้อยตรงกลางด้านหน้าของกล่อง  แล้วนำสิ่งของใส่งลงไปในกล่อง
  1. ปิดฝากล่อง    มองไม่เห็นวัตถุภายในกล่องเลย
  2. เปิดฝากล่อง     มองเห็นวัตถุที่อยู่ในกล่อง
**การที่เรามองเห็นสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เกิดจากการที่แสงส่องกระทบกับวัตถุแล้วสะท้อนกลับเข้าตา
     คุณสมบัติของแสง
แสงเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง
  1. วัตถุโปร่งแสง
  2. วัตถุโปร่งใส
  3. วัตถุทึบแสง
  • ประโยชน์
กล้อง  ( camera ) ฉ่ายภาพแบบต่าง ๆ  ตามีรูรับแสง
   ทดลองการสะท้อนของแสง  อุปกรณ์  ไฟฉ่าย กับ กระจกเงา
แสงจะสะท้อนกลับจากวัตถุ หากเราส่องกระจก เงาที่เกิดจากกระจกจะสะท้อนกลับไปที่ตาเราเสมอ ทำให้เรามองเห็นตรงข้ามกับตัวเราเสมอ
การเล่นสนุก   ใช้กระจกเงา  2  ใบ กับตุ๊กตา  แล้วนำมาตั้งฉากเป็นมุมจากนั้นบีบมุมให้เขามาเรื่อย ๆ ทำให้เรามองเห็นตุ๊กตาเพิ่มจำนวนมากขึ้น   เกิดจากการวางมุมของกระจก

กล้องคาไลโดโคป 
     อุปกรณ์  กระจกเงา 3 ใบ แล้วนำมาประกบกันให้เข้าเป็นมุมสามเหลี่ยม  เมื่อนำสิ่งของไปว่างตรงกลางทำให้มองเห็นภาพหลายภาพ   ใช้หลักมุมกับแสง

กล้องส่องภาพเหนื่องระดับสายตา
     ประโยชน์  ใช้มองวัตถุในที่สูงเหนือระดับสายตา
อุปกรณ์  กล่องทรงยาว เจอร์รู 2 รูในส่วนหัวและห่าง   กระจกเงา 2 ใบ โดยติดอยู่ที่มุมกล่อง
     โดยแสงของวัตถุเข้ามากระทบกับกระจกแผ่นล่างแล้วสะท้อนกลับเข้าตาเรา  เช่น  เรื่อใช้กล้องส่องของที่อยู่เหนือผิวน้ำในเวลาเดินเรือ  
รุ้งกินน้ำ  เป็นการหักเหของแสง  โดยมาจากแสงสีขาวบนท้องฟ้า บนโดลกนี้มีสีอยู่แค่สามสีบนโลกใบนี้ คือ แดง  น้ำเงิน  เหลือง
     การทดลองรุ้งกินน้ำ  โดยการนำกระจกเงาลงไปแช่ในน้ำจากนั้นสิ่งที่สะท้อนออกมาจะเป็นสีของรุ้งกินน้ำ
      
เงา   เกิดได้หลายแบบ เงาเกิดจากแสงที่เดินทางแล้วมีสิ่งของ หรือ วัตถุมากั้น ทำให้แสงไม่สามารถเดินทางผ่านได้จึงทำให้เกิดแสงสีดำขึ้น

 

 


ครั้งที่  5
ประจำวันที่  18 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557

** นำเสนอบทความ
    บทความที่ 1.  สนุกกับสะเต็มสะเต็มศึกษา  ( Stem )  คือการสอนแบบบูรณาการ   ระหว่าง 
S =  วิทยาศาสตร์      T =  เทคโนโลยี      E = วิศวะกรรม      M = คณิตศาสตร์
  • แนวคิด
  1. เน้นการบูรณาการ
  2. เชื่อมโยงเนื้อหา
  3. พัฒนาทักษะ
  4. ท้าทายความสามารถ
  5. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น
         ** เหตุที่ต้องจัดกิจกรรม   เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมให้สอดคล้องกับชีวิต

     บทความที่  2.  โลกของเราดำเนินได้อย่างไร ?   ให้ครูใช้วิธีการบูรณาการและให้เด็กค้นหาความรู้ด้วยตนเอง
  •    ประโยชน์
  1. เด็กได้มีโอกาสค้นหาด้วยตนเอง
  2. ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากร
  3. มีความรู้เกี่ยวกับโลก
  4. ทำให้เกิดการต่อยอดความรู้
    
     บทความที่  3.  บ้านฉันเป็นค่ายวิทยาศาสตร์  ( พ่อ แม่ )
  • ด.ร.  โทรมัส  ทิวมั่น  ปลูกฝังความรักทางวิทยาศาสตร์   เรียนรู้แบบธรรมชาติ  เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบไม่รู้ตัว  มีความอิสระอย่างเสรี  คือ  การเล่น
  • โจคิม  เบคเกอร์   ( นักวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก )   การเล่าเรื่องราว  แล้วให้เด็กได้ค้นพบโดยการได้เล่น ได้ลงมือปฏิบัติ  เด็กจะมีความภาคภูมิใจในตนเองที่ได้ค้นคว้า  ทดลอง  และหาคำตอบทางวิทยาศาสตร์

 

 
 
 
การประเมิน
  • ตนเอง  ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมประดิษฐ์ของเล่นดีมาก แต่งกายได้เรียบร้อย
  • เพื่อน   ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมดี แต่งกายได้สุภาพเรียบร้อย สนใจในคำถามของอาจารย์ดี
  • อาจารย์  มีการบรรยายที่สนุกและมีตัวอย่างเพิ่มมากขึ้น  แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะสม



 


ครั้งที่  4
ประจำวันที่  11 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557

** นำเสนอบทความ

      บทความที่ 1. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เนื้อหาสำคัญน้อยกว่าการค้นพบการทดลอง การตั้งคำถามจะทำให้เด็กได้คิดจากประสบการณ์เดิมเชื่อมโยงไปสู่ประสบการณ์ใหม่
     การเรียนรู้ คือ การเล่นโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ควรให้เด็กได้เรียนรู้ตามธรรมชาติ

     บทความที่  2.  แนวทางที่ครู้ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์
  1. ตั้งคำถามกับสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเด็ก
  2. การออกไปหาคำตอบด้วยกัน
  3. ให้เด็กค้นหาคำตอบเอง
  4. นำสิ่งที่หา หรือ ค้นพบได้มาเล่าให้เพื่อน ๆ ฟัง
  5. นำไปทดลองต่อไป
    **  ครูจึงควรหาแนวทางและตั้งคำถาม หาคำตอบร่วมกับเด็กเพื่อให้ได้คำตอบที่ครบถ้วน
 จึงควรตระหนักในการจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่น  ได้ลงมือปฏิบัติ โดยครูทำหน้าที่เป็นผู้สังเกตุ

     บทความที่  3. เรียนรู้ผ่านการเล่นจากสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัว เพื่อปลูกฝังให้เด็กในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
อพวช. ได้จัดงานวันวิทยาศาสตร์น้อย  สำหรับเด็กวัย 3-6 ขวบ เด็กในวัยนี้สามารถเรียนรู้และจดจำได้ดี  มี 4 เรื่องที่นำมาจัด  ดิน  น้ำ  ลม  ไฟ

      บทความที่  4.  การสอนลูก เรื่อง ภาวะโลกร้อน
คือการนำเอาของใช้ที่ใช้แล้วมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อปลูกฝัดให้เด็กประหยัด  ตัวอย่างที่พ่อและแม่สามารถปฏิบัติให้ลูกเห็นและนำไปปฏิบัติตามได้ก็คือ การใช้ของใช้ซ้ำ ๆ การแยกขยะ  ของเหลือใช้
ครู  สอนในหน่วย  ขยะ  หน่วย การประหยัด
  ** จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีสื่อให้เด็กได้เรียนรู้ เช่น การใช้แปรงสีฟันที่ใช้แล้วมาเป็นแปรงทากาว

 

 
 
 
การประเมิน
  • ตนเอง  ตั้งใจเรียนดี ตั้งใจฟังอาจารย์บรรยาย แต่งกายเรียบร้อย มาเรียนตรงเวลา
  • เพื่อน  ตั้งใจเรียนมาก แต่งกายเรียบร้อย พูดจาสุภาพอ่อนโยน ตั้งใจตอบคำถามอาจารย์
  • อาจารย์  แต่งกายได้สุภาพเรียบร้อยเหมาะสม บรรยายได้น่าสนใจ
ทักษะการสอน
 
       ใช้วิธีการบรรยายเนื้อหาพร้อมมีการยกตัวอย่างประกอบ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ถาม
 
 
 


 

วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

 


ครั้งที่  3
ประจำวันที่  4 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
  • รูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
  1.    พัฒนาการ  คือ การเปลี่ยนแปลงเป็นอันดับขั้นที่สัมพันธ์กับอายุ
  2. การเล่น   คือ  วิธีการทีทำให้เด็กเปลี่ยนแปลพฤติกรรม  ดดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง  5 มีทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
  3. พฤติกรรม  คือ  คุณลักษณะตามวัยของเด็ก  ( ตามหลักสูตร )
 ร่างกาย  สุขภาพอนามัย  และ  ประสาทสัมผัสระหว่างกล้ามเนื้อกับอวัยวะ
 อารมณ์ – จิตใจ  การแสดงออกทางความรู้สึก และ การรับรู้ความรู้สึก
 สังคม  การอยู่ร่วมกับผู้อื่น และ การช่วยเหลือตนเอง
 สติปัญญา  ภาษา และการคิด แบ่งเป็น การคิดเชิงเหตุผลกับการคิดเชิงสร้างสรรค์
  •  ธรรมชาติของเด็ก  คือ  คุณลักษณะ / พัมนาการ
-          ชอบทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำชม
-          ช่วยเหลือตนเองได้
-          ชอบเล่นแบบคู่ขนาน
-          พูดประโยคยาวขึ้น
-          ร้องเพลงง่าย ๆ แสดงท่าทางเลียนแบบ
-          ชอบถาม  ทำไม  ตลอดเวลา
  •  ทฤษฎีการเรียนรู้
-          พาฟลอฟ   การวางเงื่อนไข  ( สุนัขกับกระดิ่ง )
-          วัตสัน  ความรู้สึกบางอย่างมีมาตั้งแต่เกิด เช่น ความรัก ความโกรธ
-          ดิ้วอี้  เก็กเรียนรู้จากการกระทำ
-          สกินเนอร์  การเสริมแรง  ( ทางบวก )
-          เปสตาลอซซี่  การอบรมเลี้ยงดู การยอมรับความแตกต่างของเด็ก
-          เฟรอเบล  การส่งเสริมพัมนาการตามธรรมชาติของเด็ก ด้วยการกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์

 

 
*** การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  1.  สามารถนำแนวคิดนักทฤษฎีไปปรับใช้กับการเรียนการสอนได้
  2. สามารถจัดกิจกรรมให้เด็กได้ตามธรรมชาติของเด็กและความอยากรู้อยากเห็นของเด็กได้
  3. สามารถนำทฤษฎีการเรียนรู้มาอ้างอิงเพื่อจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้

*** การประเมินการเรียนการสอน
ตนเอง  85%  เข้าห้องช้ากว่าเวลา ไม่ค่อยเข้าใจกับนักการศึกษา
เพื่อน  90%   ตั้งใจเรียนดี  ตอบคำถามได้ชัดเจนและเหมาะสม
อาจารย์   95%  ตั้งใจในการสอนมาก  บรรยายได้ดีเข้าใจเหมาะสม  แต่งการได้เรียบร้อย

*** เทคนิกการสอน
      อาจารย์ใช้วิธีการบรรยายในการสอน รวมถึงการถามตอบเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ครบถ้วน และได้เปิโอการให้ถามหากมีข้อสงสัยใด ๆ

 

 

วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557

 


ครั้งที่  2
                ประจำวันที่ 28 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557
**ไปติดต่อ ก.ย.ศ. จึงศึกษาจาก  นางสาว ธนภรณ์  คงมนัส    ได้สรุปใจความมาดังนี้ค่ะ
เด็กปฐมวัย
1. พฤติกรรม
2. เรียนรู้จากการเล่น
3. การอบรมเลี้ยงดู
       พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน    1. ด้านร่างกาย  2. ด้านอารมณ์-จิตใจ  3. ด้านสัง และ 4. ด้านสติปัญญา
ด้านสติปัญญาแบ่งได้คือ
1. ด้านการคิด คือ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดแปลกใหม่  และ คิดเชิงเหตุผล
**นิยามพัฒนา  คือ  การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทั้ง 4 ด้านเป็นไปตามลำดับขั้นอย่างต่อเนื่อง
      - ขั้นใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  5 เก็บไว้ที่สมอง  ( 0-2 ขวบ )
      - พัฒนาการบอกความสามารถของเด็ก
  • การนำไปใช้ 
เพื่อจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก
  • ความรู้ในเรื่องของการพัฒนา
วิธีการ   เด็กได้ลงมือทำโดยประสาทสัมผัสทั้ง 5
  **นิยามเด็กปฐมวัย  คือ เด็กแรกเกิด 5 ปี11เดือน 29 วัน
วิทยาศาสตร์คือสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเด็กทั้งหมดรวมถึงตนเองด้วย
  • เครื่องมือในการเรียนรู้  ( คณิต กับ ภาษา )  ใช้ในการศึกษาวิทยาศตร์
1.               เป็นทางการ  ลงมือทำผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยครูเป็นผู้จัด
2.               ไม่เป็นทางการ  ลงมือกระทำผ่านการเล่น

 

**การนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียน
1.               สามารถนำไปจัดกิจกรรมเพื่อเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัยได้
2.               สามรถนำไปจัดกิจกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ 
**การประเมินตนเอง
ตนเอง     90%   ต้องทำความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม
เพื่อน      90%   ตั้งใจเรียนดี  ตั้งใจฟังอาจารย์จดบันทึกละเอีดดีมาก
อาจารย์   90%   บรรยายได้ดีมาก  แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ออกเสียงคำควบคล้ำได้ถูกต้องชัดเจน

**เทคนิคการสอน
         ใช้การบรรยายในการสอบ  ถามตอบดดยใช้คำถามปลายเปิด  และมีระบบประชาธิปไตยในการเลือกทำแฟ้มหรือทำบล็อก